Loading ...
Loading ...
Loading ...
37
การทำความสะอาดและบำรุงรักษา
ตรวจสอบจนมั่นใจว่าปลั๊กไฟได้ถูกถอดออกจากเต้าเสียบแลุะตัวหม้อข้าวเย็นตั
วแล้วก่อนที่จะทำความสะอาดหรือบำรุงรักษา
ขั้นตอนสุดท้าย อาจพบหยดน้ำเกาะที่ขอบด้านบน
ท่านต้องทำความสะอาดเครื่องใช้หลังการใช้งานด้วยฟองน้ำทุกครั้ง – Fig.13.
หม้อชั้นใน/ถาดนึ่ง (Fig.14)
ใช้สบู่เหลวที่ละลายในน้ำร้อนและฟองน้ำทำความสะอาดหม้อชั้นใน/ถาดนึ่ง
อย่าใช้ผงขัดและใยเหล็ก
อย่าจุ่มเครื่องใช้ในน้ำหรือเทน้ำใส่
เมื่อวางในเครื่องล้างจาน
ระวังว่าไมได้เป็นการทำลายสารเคลือบด้านในชั้นวางของเครื่องล้างจาน
ท่านยังสามารถล้างโถ หม้อชั้นใน ทัพพี และ
ถาดนึ่งำได้โดยวางชั้นล่างของเครื่องล้างจาน
การดูแลรักษาหม้อชั้นใน
สำหรับหม้อชั้นใน ควรปฏิบัติตามคำแนะนำด้านล่างนี้
เมื่อวางหม้อชั้นในลงในเครื่องล้างจาน ระวังไม่ให้ผิวเคลือบกันติดเกิดการชำรุดจาก
ตะแกรงของเครื่องล้างจาน
ไม่ควรหั่นหรือสับอาหารในหม้อชั้นใน
เพื่อรักษาคุณภาพของผิวเคลือบเซรามิกให้ใช้งานได้ยาวนาน
แน่ใจว่า ใส่หม้อชั้นในลงในเครื่องแล้ว
ใช้ทัพพีพลาสติกหรือไม้ ไม่ควรใช้ทัพพีโลหะตักอาหาร เนื่องจากอาจทำให้ผิวเคลือบ
กันติดชำรุดได – Fig.15.
หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของกรดกัดผิวเคลือบกันติด ไม่ควรใช้น้ำส้มสายชูเทลงในหม้อชั้นใน
สีของผิวเคลือบกันติดอาจเปลี่ยนได้ หลังจากใช้งานครั้งแรกหรือใช้ไปนานวัน การ
เปลี่ยนสีเนื่องจากปฏิกิริยาของไอน้ำและน้ำ ไม่มีผลต่อหม้อหุงข้าวและไม่เป็นอันตราย
ปลอดภัยสำหรับการใช้งาน
การทำความสะอาดฝาระบายไอน้ำ ไมโคร-เพรสเชอร์ วาล์ว
เมื่อทำความสะอาดวาล์วไมโครเพรสเชอร์ กรุณาถอดออกจากฝา – Fig.16
และเปิดโดยหมุนไปในทิศทางที่ เปิด– Fig.17a และ 17b.
หลังทำความสะอาด
กรุณาเช็ดให้แห้งและประกบชิ้นส่วนสามเหลี่ยมสองชิ้นเข้าด้วยกันและหมุนไปในทิศ
ทางที่ ปิดจากนั้นใส่กลับไปในฝาหม้อหุงข้าว – Fig.18a และ 18b.
การทำความสะอาดและบำรุงรักษาสำหรับชิ้นส่วนอื่นๆ
ของเครื่อง
ถอดปลั๊กไฟก่อนทำความสะอาด
ทำความสะอาดด้านนอกหม้อหุงข้าว – Fig.19, ภายในฝา – Fig.14
และสายไฟด้วยผ้าชุบน้ำหมาดๆ และเช็ดออกให้แห้ง อย่าใช้ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ขัดถู
ห้ามใช้น้ำทำความสะอาดภายในตัวเครื่อง เนื่องจากเซนเซอร์ความร้อนอาจชำรุด
อย่าทำความสะอาดแผงควบคุมการทำงา
มด้วยฟองน้ำที่เปียก
Rice Cooker Fuzy Electronic_Mise en page 1 17/08/11 07:47 Page37
Loading ...
Loading ...
Loading ...